บทความทั้งหมด

気が置けない (き が おけない) ความหมาย : สนิทใจ (ไว้วางใจ, เชื่อใจ, สบายใจ, เปิดใจได้)

ところで、ところへ、ところに、ところを ใช้อย่างไร แตกต่างกันอย่างไร ใช้คำช่วยไหนดี

ได้เห็น ได้ยินกันบ่อย แล้วใช้อย่างไร ใช้ในกี่ความหมาย

のみ ในการใช้ทางไวยากรณ์ จะมีความหมายเหมือน 「だけ」「ばかり」

…のだ  มีวิธีการใช้ที่หลากหลาย ควรที่เราจะทำความเข้าใจ เพื่อที่จะนำไปใช้ได้ถูกต้อง และบรรลุวัตถประสงค์ของการสื่อสาร

やっつけ仕事 คืออะไร? งานที่ทำแบบลวกๆ งานที่ทำแบบขอไปที ความหมาย และตัวอย่างประโยค

カタカナ語② คะตะคะนะที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวัน พร้อมประโยคตัวอย่าง

カタカナ語 ศัพท์คะตะคะนะ ที่ใช้บ่อยในปัจจุบัน พร้อมทั้งประโยคตัวอย่าง

~ことで เกี่ยวกับเรื่อง... วิธีการใช้ พร้อมประโยคตัวอย่าง

とんでもない ความหมาย ตัวอย่างประโยคที่ใช้

การใช้ …とは มีวิธีการใช้กี่รูปแบบ ตัวอย่างการใช้อย่างละเอียเ

~させる ความหมาย การเชื่อม ตัวอย่างประโยค

~のだろう・~んだろう ความหมาย การเชื่อม ตัวอย่างประโยค

〜ではあるまいし  ความหมาย การเชื่อม ตัวอย่างการใช้

「以外」と「意外」ความแตกต่าง ความหมาย วิธีการใช้ พร้อมประโยคตัวอย่าง

คัตสึโอะบุชิ คือ เนื้อปลาคัตสึโอะ(ปลาโอ) ที่เกิดจากกระบวนการรมควันให้แห้งโดยฟืน และทำให้แห้งตามธรรมชาติสลับกันไป เป็นวัตถุดิบที่นำไปใช้เป็นรสชาติพื้นฐานของอาหารญี่ปุ่นหลากหลายชนิด มีลักษณะที่แข็งเหมือนหิน (แต่หน้าตาเหมือนกิ่งไม้) เจ้าก้อนแข็งๆคัตสึโอะบุชิ จะถูกนำไปขูดด้วยอุปกรณ์สำหรับขูดโดยเฉพาะที่เรียกว่า かつお節削り器(คัตสึโอะบุชิ เคซุริคิ) ส่วนที่ขูดออกมาได้เป็นแผ่นบางๆเรียกกันว่า 削り節 (เคะซุริบุชิ) ซึ่งจะใช้ในการทำน้ำซุปพื้นฐาน และนำไปใช้เป็นวัตถุดิบในอาหารต่างๆ แม้กระทั่งโรยหน้าอาหารเพื่อประดับประดาก็มี เช่น โรยหน้าโอโคโนะมิยากิ คัตสึโอะบุชิ เป็น 発酵食品 (อาหารหมักดอง) ชนิดหนึ่ง เช่นเดียวกันกับ みそ(มิโซ) 醤油 (โชยุ) 納豆 (ถั่วหมักนัตโตะ) และ 梅干 (บ๊วยดอง) อีกทั้ง คัตสึโอะบุชินั้น ยังอยู่คู่กับชาวญี่ปุ่นมาเป็นเวลาหลายพันปีแล้ว ว่ากันว่า うま味 (อุมามิ) ที่อยู่ในคัตสึโอะบุชิ จะทำหน้าที่เป็นตัวดึงรสชาติอาหารญี่ปุ่นให้โดดเด่นมากยิ่งขึ้น เรียกว่าเป็นตัวตัดสินรสชาติของอาหารกันเลยทีเดียว แน่นอนว่า เจ้ารส “อุมามิ” ที่ว่านี้มีอยู่ใน “น้ำปลา” ของไทยเราด้วยนะ อาหารที่มี うま味 (อุมามิ) อยู่ก็เช่น ชีส, เนื้อ, ปลา, มะเขือเทศ, สาหร่าย เป็นต้น “อุมามิ” ถือเป็นรสชาติที่ 5 จากเดิมที่คนเรามีต่อมรับรสชาติอยู่ 4 รสคือ หวาน เปรี้ยว เค็ม และ ขม อีกด้วย

เราใช้วลีนี้เมื่อนึกหรือคิดถึงเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่เกี่ยวเนื่องกับเนื้อหาของเรื่องที่กำลังพูดอยู่ มักใช้พูดต่อจากที่คู่สนทนาพูดไว้ก่อน แต่ก็ใช้ในการพูดถามตัวเองได้ด้วยเป็นภาษาพูด

〜のではあるまいか ใช้อย่างไร มีวิํธีการเชื่อมอยางไร

เราจะสังเกตว่าในภาษาญี่ปุ่น มีคำที่ใช้เขียนซ้ำกันเช่น 「ぴかぴか」หรือ「色々」อยู่จำนวนมาก คำที่เขียนซ้ำกัน เรียกกันง่ายๆว่า 繰り返し言葉 คำซ้ำอย่างคำว่า 「ぴかぴか」หรือ「色々」คือการเขียนคำศัพท์ตัวเดิมซ้ำลงไปอีกรอบ (同じ単語などを繰り返してつくったもの) เรียกอีกอย่างว่า 畳語(じょうご) 繰り返し言葉(くりかえし ことば) = 畳語 (じょうご)

เวลาที่เราจะปิดจบการสนทนานั้น จำเป็นที่จะต้องกล่าวคำส่งท้าย ประโยคเหล่านี้เรียกว่า 結びの挨拶  むすび の あいさつ (การกล่าวปิดบทสนทนา) ในการติดต่อการทางอีเมล์ที่เราไม่สามารถเห็นหน้าค่าตาของอีกฝ่ายได้ การลงท้ายให้เหมาะสมนับว่ามีความสำคัญมาก ถึงมากที่สุด เพราะสิ่งเหล่านี้จะส่งผลให้การติดต่อธุรกิจเป็นไปได้อย่างราบรื่น และสร้างความเชื่อมั่นแก่อีกฝ่าย ต่อไปนี้คือตัวอย่างการลงท้ายเพื่อจบการสนทนา ซึ่งจะเลือกใช้อันไหน ก็ขึ้นอยู่กับการติดต่อว่าอยู่ในขั้นตอนไหน

ในกรณีที่จะจัดกาประชุมขึ้น ควรที่จะต้องแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องทราบเกี่ยวกับวัน เวลา สถานที่ รวมไปถึงรายยชื่อของผู้ที่จะเข้าร่วมการประชุมด้วย อีกครั้งควรแจ้งให้ทราบล่วงหน้าเป็นเวลาพอสมควร เผื่อว่าอีกฝ่ายจะขอเปลี่ยนแปลงในรายละเอียด เช่น ขอเปลี่ยนสถานที่ เปลี่ยนวันเวลา หรือแม้แต่ผู้เข้าร่วมการประชุม

ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงโยกย้ายตำแหน่งในที่ทำงาน จะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเนื้อหาในงานที่เราต้องรับผิดชอบด้วย หากเราถูกโยกย้ายไปทำงานในตำแหน่งงานใหม่ เราก็ควรที่จะแจ้งลูกค้าเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว เพื่อให้ลูกค้าสามารถติดต่อประสานงานได้อย่างไม่ติดขัด . เนื้อหาในอีเมล์ จะแจ้งเรื่องของการโยกย้ายตำแหน่ง รวมถึงผู้รับผิดชอบใหม่ว่า ชื่ออะไร สามารถติดต่อได้ทางไหนบ้าง ก็เป็นอีกรูปแบบหนึ่งที่สำคัญที่เราควรศึกษา เพื่อนำไปปรับใช้กับงานของตนเอง . ทีเซนเซ

ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงโยกย้ายตำแหน่งในที่ทำงาน จะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเนื้อหาในงานที่เราต้องรับผิดชอบด้วย หากเราถูกโยกย้ายไปทำงานในตำแหน่งงานใหม่ เราก็ควรที่จะแจ้งลูกค้าเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว เพื่อให้ลูกค้าสามารถติดต่อประสานงานได้อย่างไม่ติดขัด . เนื้อหาในอีเมล์ จะแจ้งเรื่องของการโยกย้ายตำแหน่ง รวมถึงผู้รับผิดชอบใหม่ว่า ชื่ออะไร สามารถติดต่อได้ทางไหนบ้าง ก็เป็นอีกรูปแบบหนึ่งที่สำคัญที่เราควรศึกษา เพื่อนำไปปรับใช้กับงานของตนเอง . ทีเซนเซ

เนื้อหาของอีเมล์รายงานประเภทนี้ เป็นการรายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ เกี่ยวกับการเข้าร่วมงานสัมมนาของตนที่ผ่านไปแล้ว ซึ่งในเนื้อหาของอีเมล์ เราควรระบุให้ชัดเจนว่า งานสัมมนาดังกล่าวจัดขึ้นที่ไหนและเมื่อไหร่? หน่วยงานใดเป็นผู้จัด? รวมไปถึงเราต้องเขียนวัตถุประสงค์ของการเข้าร่วมสัมมนา สิ่งที่เราได้รับจากการสัมมนา และอื่นๆ ลงไป โดยเขียนให้มีลักษณะที่กระชับ และเข้าใจง่าย

เนื้อหาของอีเมล์ประเภทนี้ เป็นการแจ้งให้พนักงานภายในหน่วยงานทราบและปฎิบัติ หรือหาทางแก้ไขในกรณีที่อาจเกิดข้อขัดข้องที่เกี่ยวกับการทำงาน . ในอีเมล์ตัวอย่าง เป็นอีเมล์แจ้งเกี่ยวกับการบำรุงรักษาเครื่องเซิร์ฟเวอร์ (คอมพิวเตอร์)ซึ่งในเนื้อหาของอีเมล์ ผู้แจ้งจะเขียนที่มาของประกาศ รวมไปถึงวัน เวลา ที่จะทำการซ่อมบำรุง เพื่อเป็นการแจ้งให้พนักงานทุกคนได้เตรียมตัวจัดการงานที่มีความจำเป็นต้องสื่อสารโดยผ่านระบบเซิร์ฟเวอร์ หรืออินเทอร์เน็ต โดยพนักงงานแต่ละคนอาจแจ้งลูกค้าที่อยู่ในความดูแลของตนหรือผู้ที่เกี่ยวข้องให้ทราบถึงความไม่สะดวกที่อาจเกิดขึ้นในการติดต่องาน ตามวันและเวลาดังกล่าว . ต่อไปนี้คือตัวอย่างการเขียน ซึ่งผู้อ่านสามารถนำไปปรับใช้ได้ตามความเหมาะสม

เนื้อหาของอีเมล์ประเภทนี้ เป็นขอร้องคนในหน่วยงานเดียวกัน แต่อยู่คนละแผนกเพื่อให้ช่วยแก้ไขปัญหาให้ . ในอีเมล์ตัวอย่าง เป็นอีเมล์ขอร้องให้ช่วยตรวจสอบแก้ไขปัญหาการคีย์ข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ ว่ามีปัญหา เวลาที่ปล่อยให้ช่องบางช่อง เช่น การแยกวิธีส่งสินค้า, ปลายทางการส่งสินค้า, วันที่ต้องการให้จัดส่งสินค้า ฯลฯ นั้นว่างเว้นไว้ (blank - ) โดยไม่กรอกลงไป ก็ทำให้เกิดการ error ที่หน้าจอขึ้นมา... การทำงานจริง แน่นอนว่า ปัญหาเหล่านี้มักเกิดขึ้นเสมอ เราเองในฐานะพนักงาน ก็ต้องการทางแก้ไข และการแก้ไขที่ถูกต้องและดีที่สุดก็คือการให้ผู้เชี่ยวชาญที่อยู่ในองค์กรช่วย ลักษณะของการแจ้งปัญหา เราควรแจ้งให้ชัดเจน ว่าเกิดปัญหาตรงจุดไหน เพื่อให้อีกฝ่ายสามารถแก้ไขได้อย่างตรงจุดและรวดเร็ว ในทางกลับกัน หากเราเป็นผู้รับการร้องขอ ในฐานะทำงานด้านระบบที่เกี่ยวข้องกับทางเทคนิค ก็จะสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ... (หลายท่านทำงานที่ญี่ปุ่นด้านวิศวกรรม และมีความสามารถด้านภาษาญี่ปุ่นที่ดีมาก) สำหรับผู้ที่ทำงานล่ามแล้ว การที่เราเรียนรู้อีเมล์เหล่านี้ย่อมมีประโยช์ต่องานเป็นอย่างยิ่ง เพราะเมื่อเกิดปัญหาใด ๆ หรือมีความจำเป็นต้องล่ามเกี่ยวกับเอกสาร การรู้ศัพท์ทางธุรกิจ ที่เป็นศัพท์เฉพาะเหล่านี้ จะทำให้เกิดความมั่นใจในการสื่อสาร และทำให้การสือสารบรรลุวัตถุประสงค์...

社内向けのメール ( อีเมล์ภายในบริษัท) 備品購入申請書 (び ひん こうにゅう しんせいしょ) (ใบคำร้องขอซื้อพัสดุภัณฑ์) . เนื้อหาของอีเมล์ประเภทนี้ เป็นการยื่นความจำนงในการสั่งซื้อพัสดุภัณฑ์ที่จำเป็นต้องใช้ในการทำงาน . ในอีเมล์ตัวอย่าง เป็นการยื่นความจำนงขอให้สั่งซื้อหน้าจอคอมพิวเตอร์ เนื่องจากที่ใช้อยู่นั่นพังไปแล้ว ก็จะมีการแจงรายละเอียดว่า หน้าจอดังกล่าวนั้นเป็นประเภทใด ระบุจำนวน ราคา รวมไปถึงแนบลิงค์หรือเอกสารที่เกี่ยวข้องกับตัวสินค้าที่ต้องการให้เรียบร้อย

社外向けのメール ( อีเมล์ภายนอกบริษัท) 商品価格改定のお知らせ (しょうひん か かく  かいてい の おしらせ) (แจ้งการกำหนดราคาสินค้าใหม่) . เนื้อหาของอีเมล์ประเภทนี้ เป็นการแจ้งการเปลี่ยนแปลงราคาสินค้าให้อีกฝ่ายทราบ (บริษัทนอก) เช่น ซัพพลายเยอร์ ส่งมาให้เรา

せめて ใช้บ่อย ได้ยินบ่อย แต่ใช้ยังไง ประโยคแบบไหน

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้