ไวยากรณ์ทั่วไป

ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่นทั่วไปที่มีความน่าสนใจ 

気が置けない (き が おけない) ความหมาย : สนิทใจ (ไว้วางใจ, เชื่อใจ, สบายใจ, เปิดใจได้)

ところで、ところへ、ところに、ところを ใช้อย่างไร แตกต่างกันอย่างไร ใช้คำช่วยไหนดี

ได้เห็น ได้ยินกันบ่อย แล้วใช้อย่างไร ใช้ในกี่ความหมาย

…のだ  มีวิธีการใช้ที่หลากหลาย ควรที่เราจะทำความเข้าใจ เพื่อที่จะนำไปใช้ได้ถูกต้อง และบรรลุวัตถประสงค์ของการสื่อสาร

やっつけ仕事 คืออะไร? งานที่ทำแบบลวกๆ งานที่ทำแบบขอไปที ความหมาย และตัวอย่างประโยค

カタカナ語② คะตะคะนะที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวัน พร้อมประโยคตัวอย่าง

カタカナ語 ศัพท์คะตะคะนะ ที่ใช้บ่อยในปัจจุบัน พร้อมทั้งประโยคตัวอย่าง

~ことで เกี่ยวกับเรื่อง... วิธีการใช้ พร้อมประโยคตัวอย่าง

とんでもない ความหมาย ตัวอย่างประโยคที่ใช้

การใช้ …とは มีวิธีการใช้กี่รูปแบบ ตัวอย่างการใช้อย่างละเอียเ

~させる ความหมาย การเชื่อม ตัวอย่างประโยค

~のだろう・~んだろう ความหมาย การเชื่อม ตัวอย่างประโยค

เราใช้วลีนี้เมื่อนึกหรือคิดถึงเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่เกี่ยวเนื่องกับเนื้อหาของเรื่องที่กำลังพูดอยู่ มักใช้พูดต่อจากที่คู่สนทนาพูดไว้ก่อน แต่ก็ใช้ในการพูดถามตัวเองได้ด้วยเป็นภาษาพูด

เราจะสังเกตว่าในภาษาญี่ปุ่น มีคำที่ใช้เขียนซ้ำกันเช่น 「ぴかぴか」หรือ「色々」อยู่จำนวนมาก คำที่เขียนซ้ำกัน เรียกกันง่ายๆว่า 繰り返し言葉 คำซ้ำอย่างคำว่า 「ぴかぴか」หรือ「色々」คือการเขียนคำศัพท์ตัวเดิมซ้ำลงไปอีกรอบ (同じ単語などを繰り返してつくったもの) เรียกอีกอย่างว่า 畳語(じょうご) 繰り返し言葉(くりかえし ことば) = 畳語 (じょうご)

せめて ใช้บ่อย ได้ยินบ่อย แต่ใช้ยังไง ประโยคแบบไหน

~そのもの เจ้าเคยได้ยินคำนี้บ่อ คนพูดมักจะเอ่ยคำนามขึ้นมาก่อนแล้วตามด้วย そのもの มา มาทำความเข้าใจกัน

ことだろう・ことでしょう ใช้แสดงการ "คาดคะเน" จะใช้ だろう/でしょう คำเดียวก็ได้ แต่ ことだろう・ことでしょう เป็นภาษาที่มีความเป็นทางการมากกว่า  ใช้คาดคะเนเรื่องที่ตอนนี้ยังไม่รู้แน่ชัด โดยใส่อารมณ์ความรู้สึกของผู้พูดเข้าไปด้วย และถ้าใช้คู่กับกริยาวิเศษณ์    さぞ(かし)เข้าไปจะยิ่งแฝงความรู้สึกของผู้พูดมากขึ้นไปอีก

順接( じゅんせつ)การเชื่อมต่อกันไปเป็นลำดับ คำเชื่อมที่ใช้เชื่อมต่อกันเป็นลำดับ เป็นคำเชื่อมที่มีความสำคัญมาก ไม่น้อยไปกว่าคำเชื่อมที่แสดงความขัดแย้ง หรือเสริมความที่ได้เขียนไปในโพสต์ก่อนหน้าเลย... หากเรามีความเข้าใจในความหมายและวิธีการใช้ อีกทั้งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ ก็จะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสารในทุกรูปแบบได้เช่นกัน... และหากอยากมีทักษะด้านการเขียน การอ่านที่ดี ที่เก่ง ก็ควรใส่ใจ และตั้งใจฝึกฝนการใช้พวกคำเชื่อมเหล่านี้อยู่เสมอ...

添加( てんか)คำเชื่อมที่ใช้ต่อเติมท้าย เพื่อเสริมเนื้อหา เป็นคำเชื่อมที่มีความสำคัญมากอีกรูปแบบหนึ่งของการเชื่อมประโยคในภาษาญี่ปุ่น ทั้งการพูด การอ่าน และเขียน หากเรามีความเข้าใจในคำเชื่อมเหล่านี้ แล้วสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ ก็จะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสารในทุกรูปแบบได้ ใครเขียนบทความ หรือรายงาน ควรเรียนรู้และหัดเขียนตามประโยคตัวอย่างที่ให้ไว้นะคะ

対比( たいひ)การเปรียบเทียบเนื้อหาด้านหน้าและด้านหลัง เป็นการเชื่อมต่อที่แสดงการเปรียบเทียบเนื้อหาในประโยคด้านหน้าและด้านหลัง เป็นอีกคำเชื่อมที่ควรให้ความสำคัญ และควรศึกษาเพื่อที่จะสามารถนำไปใช้ในการพูด อ่าน เขียน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากอยากมีทักษะด้านการเขียน การอ่านที่ดี ที่เก่ง ก็ควรใส่ใจ และตั้งใจฝึกฝนการใช้พวกคำเชื่อมอยู่เสมอ...

"คำเชื่อม" มีอยู่หลากหลายประเภท หลักๆเลยก็มีคล้อยตาม เสริมความ เรียงลำดับ ขัดแย้ง ฯลฯ คำเชื่อมเหล่านี้มีความสำคัญมาก เพราะในการพูดคุย และการเขียน เราจะต้องใช้คำเหล่านี้เสมอ (เรียงความ รายงาน ฯลฯ) ใครเคยเขียนเรียงความ บทความ หรือแม้แต่ประโยคง่ายๆ จะเข้าใจ

ในทางธุรกิจนั้น การเลือกใช้คำพูดเป็นสิ่งสำคัญ เพราะจะทำให้ตัวผู้พูดมีความน่าเชื่อถือ สร้างเสน่ห์ ต่อไปนี้จะแนะนำการเปลี่ยนวลีที่ใช้ให้ฟังดูเป็น "มืออาชีพ" ยิ่งขึ้นไปอีก

ในการติดต่อพูดคุยกันในงาน “การถาม” ถือเป็นเรื่องแรกสุด ที่เราจะต้องพบเจอ ไม่ว่าจะสอบถามเกี่ยวกับตัวบุคคล ถามความเห็น ถามความคืบหน้าของงาน ความคืบหน้าของตัวสินค้า ผลิตภัณฑ์ หรือการสอบถามเพื่อขอร้องให้ตรวจสอบเนื้อหาใดๆเกี่ยวกับงาน แต่ทีนี้ เราจะ “เกริ่น” ขึ้นต้นคำถามว่าอย่างไร แล้วจะถามอย่างไรให้สุภาพ

การอ่านประโยคให้เข้าใจ เรื่องของคำสันธาน (คำเชื่อม) ก็มีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะจะช่วยให้เราเข้าใจเนื้อหาได้ดียิ่งขึ้น

อกรรมกริยา และสกรรมกริยา (自動詞と他動詞) เป็นปัญหาอย่างมากสำหรับผู้ที่กำลังเรียนภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น การที่ไม่เข้าใจความแตกต่าง จะทำให้การเรียนภาษาญี่ปุ่นมีปัญหาในระยะยาวได้ ดังนั้น เราจึงควรทำความเข้าใจให้ถ่องแท้

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้